กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ

กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ

อาการกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง

กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการนี้ เรียกในทางการแพทย์ว่า Ptosis คือภาวะที่เปลือกตาบนตกลงมากกว่าปกติ ส่งผลต่อการมองเห็น และบุคคลิกภาพ หากอาการรุนแรง เปลือกตาอาจปิดบังรูม่านตา ทำให้เกิดปัญหาด้านการมองเห็น และความสมดุลของใบหน้า ภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่

อาการที่พบได้บ่อย

สามารถสังเกตอาการของโรคง่ายๆ ได้ดังนี้

  1. หนังตาตก ตาปรือ ดูง่วง ดูล้า
  2. ลืมตาได้ไม่เต็มที่ เห็นตาดำน้อย
  3. เลิกคิ้วบ่อยๆ สูงไม่เท่ากัน
  4. มีชั้นตาหลายชั้น
  5. ตามีร่องโบ๋ เบ้าตาลึก
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ

สาเหตุ

กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการนี้ สามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งแบ่งออกได้ดังนี้

  1. เป็นตั้งแต่กำเนิด (Congenital Ptosis) : เกิดจากกล้ามเนื้อตามีพัฒนาการที่ผิดปกติ (Levator muscle) ตั้งแต่แรกเกิด
  2. เป็นในภายหลัง (Acquired Ptosis) พบได้บ่อยจาก
    • การเสื่อมของกล้ามเนื้อและเอ็นเปลือกตา : พบบ่อยในผุ้สูงอายุ
    • โรคทางระบบประสาท : เช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง – Myasthenia Gravis (MG) หรือโรคที่เกี่ยวกับเส้นประสาทสมอง
    • การผ่าตัดดวงตา : เช่น การทำตาสองชั้นผิดพลาด หรือการผ่าตัดต้อกระจก
    • ภาวะเนื้องอกหรือก้อนเนื้อกดทับบริเวณดวงตา

การรักษา

  • ทานยา : ในกรณีที่เป็นโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง ใช้ยากระตุ้นการทำงานของกล้ามเนื้อ
  • การผ่าตัด : หากมีหนังตาตกจนบดบังการมองเห็น การผ่าตัดแก้ไขเพื่อปรับกล้ามเนื้อตาจะช่วยได้

รีวิว

กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง

สรุป

กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง หรือ Ptosis เป็นภาวะที่ส่งผลกระทบต่อการมองเห็นและบุคคลิกภาพ โดยสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุทั้งที่เป็นตั้งแต่กำเนิดและที่เกิดขึ้นในภายหลัง ซึ่งการรักษาสามารถทำได้ทั้งการใช้ยาและการผ่าตัดเพื่อปรับกล้ามเนื้อตาให้กลับมาเป็นปกติ ทั้งนี้ควรพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อเข้ารับการวินิจฉัยอย่างถูกต้อง เพื่อประเมินการรักษา

เนื้อหาโดย
Picture of หมอนุ้ย

หมอนุ้ย

พญ.จุติมา พัตรลิดานนท์
ว.35273

รู้จักคุณหมอ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมจากคุณหมอ
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ 3
ทีมอาจารย์แพทย์ ธีรพร
ปรึกษาอาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ไม่เสียค่าใช้จ่าย
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ 4
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ 5
กรอกข้อมูลเพื่อให้เราติดต่อกลับ
กรอกข้อมูลเพื่อให้เราติดต่อกลับ
กล้ามเนื้อตาอ่อนแรง อาการ 5
เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
ข่าวสาร

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า